สูตรสาวหน้าใสน้ำผึ้งผสมมะนาว
ส่วนผสม มีแค่น้ำผึ้งกับน้ำมะนาว ใช้น้ำผึ้ง 1 ถ้วย กับน้ำมะนาว 1 ช้อนชา ผสมให้เข้ากัน นำมานวดให้ทั่วใบหน้า นวดไปเรื่อยๆ 15 นาที ล้างออกด้วยน้ำสะอาด สูตรนี้มะนาว จะช่วยขจัดเซลล์ผิวเช่นเดียวกับครีมที่ผสมกรด AHA ส่วนน้ำผึ้งจะทำให้ผิวหน้านุ่มแลุชุ่มชื่น
สูตรสาวหน้าใสด้วยแอปเปิ้ล
ใช้แอปเปิ้ลปอกเปลือกแล้วคว้านเอาเฉพาะเนื้อ นำมาปั่นรวมกับน้ำผึ้ง 1 ช้อนโต๊ะ นำมาทาให้ทั่วใบหน้าแล้วนวดเบาๆ ทั้งไว้ 15 นาที แล้วล้างออกด้วยน้ำเย็น สูตรนี้จะช่วยขจัดเซลล์ ผิวที่ตายแล้วให้หลุดออกไป เพิ่มความชุ่มชื่นให้กับผิวหน้า ทำให้ใบหน้าดูสดใสเปล่งปลั่งอีกด้วย
สูตรกระชับรูขุมขน
ใช้กล้วยหอม แตงกวาหรือมะเขือเทศก็ได้ เลือกใช้อย่างใดอย่างหนึ่งปอกเปลือก เอาเมล็ดออกให้หมดแล้ว หั่นเป็นชิ้นเล็กๆ เติมน้ำผึ้งหรือนมเปรี้ยวลงไป นำไปปั่นให่ละเอียด จนเป็นเนื้อครีม นำมาพอกให้ทั่วใบหน้าและลำคอ ทิ้งไว้ประมาณ 15 นาที ล้างออกด้วยน้ำอุ่น สูตรนี้จะช่วยทำความสะอาดใบหน้า และกระซับรูขุมขนและบำรุงผิวให้ชุ่มชื่น
สูตรพอกหน้าใสจากแตงกวา
ใช้แตงกวา 1 ผล ไข่ไก่ 1 ฟอง (ใช้เฉพาะไข่ขาว) และมะนาว 1 ช้อนโต๊ะ หั่นแตงกวาเป็นชิ้นบางๆ นำไปปั่นพร้อมกับไข่ขาวและใส่น้ำมะนาวลงไป ปั่นจนละเอียดเป็นเนื้อเดียวกัน นำมาพอกให้ทั่วใบหน้า เว้นรอบปากและดวงตา ทิ้งไว้ประมาณ 20 นาที แล้วจึงล้างหน้าตามปกติ หมั่นทำบ่อยๆทุกสัปดาห์ จะช่วยลดความมันส่วนเกินและยังช่วยกระชับรูขุมขน ผิวหน้าจะดูเนียนเรียบและชุ่มชื่น เหมาะสำหรับผิวมันและผิมผสม
เคล็ดลับที่ควรคำนึงถึง
1. ผลไม้ที่ใช้ต้องสด มีคุณภาพ
2. ภาชนะที่ใช้ใส่ผลไม้ ส่วนผสมต่างๆ ควรใช้แก้วหรือกระเบื้อง
3. ก่อนทำการพอกหน้า ควรทำความสะอาดใบหน้าให้สะอาด โดยการอังใบหน้ากับไอน้ำและนวดเบาๆเพื่อเปิดรูขุมขน
4. เวลาพอกหน้าไม่ควรพูดคุยหรืออ่านหนังสือ
น.ส.อริษา แสงจันดา
วันพุธที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2553
วันพุธที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2553
งานที่เพื่อนนำเสนอทั้งหมด
การสร้างจุดเด่นให้กับภาพ
1.ไปที่ File > open เลือกรูปที่เราต้องการทำ
2.กดแป้นพิมพ์ที่ Ctrl+ j เพิ่ม Layer ปลดล็อกแบคกาวดับเบิ้ลคลิกที่ Layer
3.คลิกที่ Layer ที่1 Image > Adjustments > Desaturate ให้เป็นภาพขาวดำ
4.เลือกเครื่องมือ Maghetic Lasso tool ครอบจุดที่เราต้องการทำเป็นจุดเด่น แล้วกด Delete
5.กดแป้นพิมพ์ Ctrl+D รวม Layer แล้วกด Ctrl+E ก็จะได้ภาพที่เป็นจุดเด่นค่ะ
Conten-Aware การลบส่วนที่ไม่ต้องการออก
1.ไปที่ File > open เลือกรูปที่ต้องการ
2.ไปที่เครื่องมือ Maghetic Lasso tool ทำการตัดภาพที่ไม่ต้องการ
3.ไปที่ Edit Fill
4.ไปที่ use conten-Aware > Mode เป็น Normall ปรับตามต้องการ
5.แล้วกด OK > Ctrl+D
การปรับรูปร่างให้ดูดีขึ้น
1.ไปที่ File > open เลือกรูปที่เราต้องการทำ
2.ไปที่ Fiter> Liguifg เลือก Show Mesh
3.คลิกเครื่องมือ Forward Wanp tool
4.ปรับส่วนที่ต้องการลด แล้วก็กด OK
การทำภาพถ่ายเป็นลายเส้น
1.ไปที่ File > open เลือกรูปที่เราต้องการทำ
2.กดแป้นพิมพ์ที่ Ctrl+ j เพิ่ม Layer >Image >Adjustments>Invet
3.ไปที่ Layer > Color Dodge > Fiter > Blur > Gaussian Blur เปลี่ยนป็น 2 แล้ว Ok เพิ่ม Layer
4.ไปที่ Shift> Ctrl >Alt>E กดพร้อมกัน
5.ไปที่ Image> AdjustmentsThreshold เปลี่ยนเป็น 240 ก็เป็นการทำเสร็จเรียบร้อยแล้ว
HDR Toning
1.ไปที่ File > open เลือกรูปที่เราต้องการทำ
2.ไปที่ Image >Adjustments> HDR Toning
3.ปรับเครื่องมือทางขวามือตามที่ต้องการแล้วกด OK
การทำภาพลอกและภาพสกีน
1.ไปที่ File > open เลือกรูปที่เราต้องการทำ
2.กดแป้นพิมพ์ที่ Ctrl+ j เพิ่ม Layer
3.ไปที่ Inage > Mode > Lab Color > Dont Flatten
4.ไปที่ Inage > Adjustments> Caves ปรับตามต้องการ แล้วก็กด OK
วันพุธที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2553
การสร้างภาพวาดดินสอสี
1. เลือกภาพที่เราต้องการที่จะนำมาทำค่ะ
2.ไปที่ Layer Pallet เพื่อทำการสร้างสำเนาภาพโดยการกด Ctrl + J
3. แล้วเราก็จะได้สำเนาเป็นชื่อ Layer1
4. ทำการปรับ mode เป็น overlay และลดค่า opacity ลงเหลือซักประมาณ 60 % ค่านี้ปรับเปลี่ยนได้ ลองตามความชอบของเราได้ค่ะ
5. ไปที่ filter>stylize>Find Edges
6. ก็จะได้ภาพที่ออกมาก็จะได้ประมาณค่ะ
7. ไปที่ layer pallet เลือกที่เลเยอร์ด้านบน ในที่นี้คือ Layer1 ทำการสร้างสำเนาภาพ โดยการกด Ctrl + J
8. เราก็จะได้ Layer 1 copy อยู่ด้านบน
9. ไปที่ filter>stylize>Find Edges
10. ก็จะได้ภาพที่ออกมาก็จะได้ประมาณค่ะ
11. ไปที่ layer pallet เลือกที่เลเยอร์ด้านบนสุด ในที่นี้คือ Layer1 copy ทำการสร้างสำเนาภาพ โดยการกด Ctrl + J
12. เราก็จะได้ Layer 1 copy 2 อยู่ด้าน
13. ไปที่ filter>stylize>Find Edges
14.ก็จะได้ภาพประมาณนี้ค่ะ
15. นอกจากนั้นเรายังสามารถปรับแต่งได้อีกนะค่ะ ให้เราไปเลือกที่ Layer 1 copy
16. ไปที่ filter>Blur>Gaussian Blur
17. ปรับ Radius ให้มากหน่อย ใช้ซัก 50 pixel ค่ะแล้วกด OK เลยค่ะ
18. ก็จะได้ภาพที่ออกมาตามนี้ค่ะ
วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
คำศัพท์
คำศัพท์
1. VARCHAR (ย่อมาจาก Variable Character Field อ่านว่า วาร์คาร์ หรือ วาร์ชาร์) หมายถึงกลุ่มข้อมูลตัวอักขระที่ไม่สามารถระบุความยาวได้ คำนี้มักใช้เป็นชนิดข้อมูลในระบบจัดการฐานข้อมูล ชนิดข้อมูลประเภท varchar สามารถเก็บข้อมูลตัวอักขระขนาดเท่าใดก็ได้ที่ไม่เกินความยาวที่จำกัดไว้ การจำกัดความยาวก็แตกต่างกันออกไปในแต่ละฐานข้อมูล
2. TINYINT : สำหรับเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีขนาด 8 บิต ข้อมูลประเภทนี้เราสามารถกำหนดเพิ่มเติมในส่วนของ "แอตทริบิวต์" ได้ว่าจะเลือกเป็น
3. TEXT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่สามารถเก็บได้มากขึ้น โดยสูงสุดคือ 65,535 ตัวอักษร หรือ 64KB เหมาะสำหรับเก็บข้อมูลพวกเนื้อหาต่างๆ ที่ยาวๆ
4. DATE : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ โดยเก็บได้จาก 1 มกราคม ค.ศ. 1000 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 โดยจะแสดงผลในรูปแบบ YYYY-MM-DD
5. SMALLINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 16 บิต จึงสามารถเก็บค่าได้ตั้งแต่ -32768 ถึง 32767 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 65535 (ในกรณี UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
6. MEDIUMINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 24 บิต นั่นก็หมายความว่าสามารถเก็บข้อมูลตัวเลขได้ตั้งแต่ -8388608 ไปจนถึง 8388607 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 16777215 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
7. INT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 32 บิต หรือสามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -2147483648 ไปจนถึง 2147483647 ครับ (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 4294967295 (ในกรณีที่เป็นUNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
8. BIGINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 64 บิต สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -9223372036854775808 ไปจนถึง 9223372036854775807 เลยทีเดียว (แบบคิดเครื่องหมาย)
9. FLOAT : ที่กล่าวถึงไปทั้งหมด ในตระกูล INT นั้นจะเป็นเลขจำนวนเต็ม หากเราบันทึกข้อมูลที่มีเศษทศนิยม มันจะถูกปัดทันที ดังนั้นหากต้องการจะเก็บค่าที่เป็นเลขทศนิยม ต้องเลือกชนิดขอฟิลด์เป็น FLOAT โดยจะเก็บข้อมูลแบบ 32 บิต
10. DOUBLE : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่มีขนาดเป็น 64 บิต สามารถเก็บได้ตั้งแต่ -1.7976931348623157E+308 ถึง -2.2250738585072014E-308, 0 และ 2.2250738585072014E-308 ถึง 1.7976931348623157E+308
11. DECIMAL : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่ใช้กับข้อมูลที่ต้องการความละเอียดและถูกต้องของข้อมูลสูง
12. DATETIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลา โดยจะเก็บได้ตั้งแต่ 1 มกราคม ค.ศ. 1000 เวลา 00:00:00 ไปจนถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 เวลา 23:59:59 โดยรูปแบบการแสดงผล เวลาที่ทำการสืบค้น (query) ออกมา จะเป็น YYYY-MM-DD HH:MM:SS
13. TIMESTAMP : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลาเช่นกัน แต่จะเก็บในรูปแบบของ YYYYMMDDHHMMSS หรือ YYMMDDHHMMSS หรือ YYYYMMDD หรือ YYMMDD แล้วแต่ว่าจะระบุค่า M เป็น 14, 12, 8
14. TIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทเวลา มีค่าได้ตั้งแต่ -838:59:59 ไปจนถึง 838:59:59 โดยจะแสดงผลออกมาในรูปแบบ HH:MM:SS
15. YEAR : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทปี ในรูปแบบ YYYY หรือ YY แล้วแต่ว่าจะเลือก 2 หรือ 4 (หากไม่ระบุ จะถือว่าเป็น 4 หลัก) โดยหากเลือกเป็น 4 หลัก จะเก็บค่าได้ตั้งแต่ ค.ศ. 1901 ถึง 2155 แต่หากเป็น 2 หลัก จะเก็บตั้งแต่ ค.ศ. 1970 ถึง 2069
16. CHAR : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร แบบที่ถูกจำกัดความกว้างเอาไว้คือ 255 ตัวอักษร ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้เหมือนกับ VARCHAR หากทำการสืบค้นโดยเรียงตามลำดับ
17. TINYBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี ได้แก่ ไฟล์ข้อมูลต่างๆ, ไฟล์รูปภาพ, ไฟล์มัลติมีเดีย เป็นต้น คือไฟล์อะไรก็ตามที่อัพโหลดผ่านฟอร์มอัพโหลดไฟล์ในภาษา HTML โดย TINYBLOB นั้นจะมีเนื้อที่ให้เก็บข้อมูลได้ 256 ไบต์
18. TINYTEXT : ในกรณีที่ข้อความยาวๆ หรือต้องการที่จะค้นหาข้อความ โดยอาศัยฟีเจอร์ FULL TEXT SEARCH ของ MySQL เราอาจจะเลือกที่จะไม่เก็บข้อมูลลงในฟิลด์ประเภท VARCHAR ที่มีข้อจำกัดแค่ 256 ตัวอักษร แต่เราจะเก็บลงฟิลด์ประเภท TEXT แทน โดย TINYTEXT นี้ จะสามารถเก็บข้อมูลได้ 256 ตัวอักษร
19. BLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่สามารถเก็บข้อมูลได้ 64KB
20. MEDIUMBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 16MB
21. MEDIUMTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 16,777,215 ตัวอักษร
22. LONGBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 4GB
23. LONGTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 4,294,967,295 ตัวอักษร
24. SET : สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นกลุ่มของข้อมูลที่ยอมให้เลือกได้ 1 ค่าหรือหลายๆ ค่า ซึ่งสามารถกำหนดได้ถึง 64 ค่า
25. ENUM(Enumeration) >> หมายถึงเซตของข้อมูลชุดหนึ่งที่มีจำนวนสมาชิกที่กำหนดไว้แน่นอนและทราบค่าทุกตัว ซึ่งมักจะเป็นข้อมูลที่มีลักษณะคงที่
26. BINARY: ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา
27. BOOL: คือข้อมูลที่มีค่าเป็นจริง (True) หรือเท็จ (False)
28. VARBINARY: คือ มีลักษณะการเก็บคล้าย Varcha คือการเก็บข้อมูลตามที่รับมาจริงเท่านั้น มีขนาดสูงสุดมากถึง 8000 ไบต์
1. VARCHAR (ย่อมาจาก Variable Character Field อ่านว่า วาร์คาร์ หรือ วาร์ชาร์) หมายถึงกลุ่มข้อมูลตัวอักขระที่ไม่สามารถระบุความยาวได้ คำนี้มักใช้เป็นชนิดข้อมูลในระบบจัดการฐานข้อมูล ชนิดข้อมูลประเภท varchar สามารถเก็บข้อมูลตัวอักขระขนาดเท่าใดก็ได้ที่ไม่เกินความยาวที่จำกัดไว้ การจำกัดความยาวก็แตกต่างกันออกไปในแต่ละฐานข้อมูล
2. TINYINT : สำหรับเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีขนาด 8 บิต ข้อมูลประเภทนี้เราสามารถกำหนดเพิ่มเติมในส่วนของ "แอตทริบิวต์" ได้ว่าจะเลือกเป็น
3. TEXT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่สามารถเก็บได้มากขึ้น โดยสูงสุดคือ 65,535 ตัวอักษร หรือ 64KB เหมาะสำหรับเก็บข้อมูลพวกเนื้อหาต่างๆ ที่ยาวๆ
4. DATE : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ โดยเก็บได้จาก 1 มกราคม ค.ศ. 1000 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 โดยจะแสดงผลในรูปแบบ YYYY-MM-DD
5. SMALLINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 16 บิต จึงสามารถเก็บค่าได้ตั้งแต่ -32768 ถึง 32767 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 65535 (ในกรณี UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
6. MEDIUMINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 24 บิต นั่นก็หมายความว่าสามารถเก็บข้อมูลตัวเลขได้ตั้งแต่ -8388608 ไปจนถึง 8388607 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 16777215 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
7. INT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 32 บิต หรือสามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -2147483648 ไปจนถึง 2147483647 ครับ (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 4294967295 (ในกรณีที่เป็นUNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
8. BIGINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 64 บิต สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -9223372036854775808 ไปจนถึง 9223372036854775807 เลยทีเดียว (แบบคิดเครื่องหมาย)
9. FLOAT : ที่กล่าวถึงไปทั้งหมด ในตระกูล INT นั้นจะเป็นเลขจำนวนเต็ม หากเราบันทึกข้อมูลที่มีเศษทศนิยม มันจะถูกปัดทันที ดังนั้นหากต้องการจะเก็บค่าที่เป็นเลขทศนิยม ต้องเลือกชนิดขอฟิลด์เป็น FLOAT โดยจะเก็บข้อมูลแบบ 32 บิต
10. DOUBLE : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่มีขนาดเป็น 64 บิต สามารถเก็บได้ตั้งแต่ -1.7976931348623157E+308 ถึง -2.2250738585072014E-308, 0 และ 2.2250738585072014E-308 ถึง 1.7976931348623157E+308
11. DECIMAL : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่ใช้กับข้อมูลที่ต้องการความละเอียดและถูกต้องของข้อมูลสูง
12. DATETIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลา โดยจะเก็บได้ตั้งแต่ 1 มกราคม ค.ศ. 1000 เวลา 00:00:00 ไปจนถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 เวลา 23:59:59 โดยรูปแบบการแสดงผล เวลาที่ทำการสืบค้น (query) ออกมา จะเป็น YYYY-MM-DD HH:MM:SS
13. TIMESTAMP : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลาเช่นกัน แต่จะเก็บในรูปแบบของ YYYYMMDDHHMMSS หรือ YYMMDDHHMMSS หรือ YYYYMMDD หรือ YYMMDD แล้วแต่ว่าจะระบุค่า M เป็น 14, 12, 8
14. TIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทเวลา มีค่าได้ตั้งแต่ -838:59:59 ไปจนถึง 838:59:59 โดยจะแสดงผลออกมาในรูปแบบ HH:MM:SS
15. YEAR : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทปี ในรูปแบบ YYYY หรือ YY แล้วแต่ว่าจะเลือก 2 หรือ 4 (หากไม่ระบุ จะถือว่าเป็น 4 หลัก) โดยหากเลือกเป็น 4 หลัก จะเก็บค่าได้ตั้งแต่ ค.ศ. 1901 ถึง 2155 แต่หากเป็น 2 หลัก จะเก็บตั้งแต่ ค.ศ. 1970 ถึง 2069
16. CHAR : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร แบบที่ถูกจำกัดความกว้างเอาไว้คือ 255 ตัวอักษร ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้เหมือนกับ VARCHAR หากทำการสืบค้นโดยเรียงตามลำดับ
17. TINYBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี ได้แก่ ไฟล์ข้อมูลต่างๆ, ไฟล์รูปภาพ, ไฟล์มัลติมีเดีย เป็นต้น คือไฟล์อะไรก็ตามที่อัพโหลดผ่านฟอร์มอัพโหลดไฟล์ในภาษา HTML โดย TINYBLOB นั้นจะมีเนื้อที่ให้เก็บข้อมูลได้ 256 ไบต์
18. TINYTEXT : ในกรณีที่ข้อความยาวๆ หรือต้องการที่จะค้นหาข้อความ โดยอาศัยฟีเจอร์ FULL TEXT SEARCH ของ MySQL เราอาจจะเลือกที่จะไม่เก็บข้อมูลลงในฟิลด์ประเภท VARCHAR ที่มีข้อจำกัดแค่ 256 ตัวอักษร แต่เราจะเก็บลงฟิลด์ประเภท TEXT แทน โดย TINYTEXT นี้ จะสามารถเก็บข้อมูลได้ 256 ตัวอักษร
19. BLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่สามารถเก็บข้อมูลได้ 64KB
20. MEDIUMBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 16MB
21. MEDIUMTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 16,777,215 ตัวอักษร
22. LONGBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 4GB
23. LONGTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 4,294,967,295 ตัวอักษร
24. SET : สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นกลุ่มของข้อมูลที่ยอมให้เลือกได้ 1 ค่าหรือหลายๆ ค่า ซึ่งสามารถกำหนดได้ถึง 64 ค่า
25. ENUM(Enumeration) >> หมายถึงเซตของข้อมูลชุดหนึ่งที่มีจำนวนสมาชิกที่กำหนดไว้แน่นอนและทราบค่าทุกตัว ซึ่งมักจะเป็นข้อมูลที่มีลักษณะคงที่
26. BINARY: ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา
27. BOOL: คือข้อมูลที่มีค่าเป็นจริง (True) หรือเท็จ (False)
28. VARBINARY: คือ มีลักษณะการเก็บคล้าย Varcha คือการเก็บข้อมูลตามที่รับมาจริงเท่านั้น มีขนาดสูงสุดมากถึง 8000 ไบต์
วันพฤหัสบดีที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2552
การติดตั้ง appserv - 2.5.9
การติดตั้ง appserv - 2.5.9
วิธีการดาวน์โหลด appserv win -32-2.5.9เข้าไปดาวน์โหลดโปรแกรมการติดตั้งที่ http://kitt.kvc.ac.th แล้วไปที่ดาวน์โหลดจากนั้นจะขึ้นโปรแกรหลายโปรแกรม ให้เราเลือก appserv- win-32-2.5.9เมื่อคลิกแล้วจะขึ้น file ดาวน์โหลด เลือกตำแหน่งที่ต้องการวางโปรแกรม หรือวางไว้หน้าdesktop ก็ได้ หลังจากนั้น ให้เราเลือก save โปรแกรมจะทำการดาวน์โหลดเมื่อดาวน์โหลด เสร็จสิ้น เลือก open หลังจากนั้นทำการติดตั้งวิธีการติดตั้ง appserv win -32-2.5.9คลิก file appserv win -32-2.5.9 ขึ้นมา จากนั้นปรากฏจอภาพข้อความต้อนรับเข้าสู่การติดตั้งให้เราเลือก next หลังจากนั้น จะมีจอภาพลิขสิทธิ์ ลิขสิทธิ์การใช้งานของโปรแกรมให้เราเลือก I agree เพื่อยอมรับลิขสิทธิ์ หลังจากนั้น จะขึ้นจอภาพไดร์ฟและโฟลเดอร์ติดตั้งโปรแกรมให้คลิกปุ่ม Next เพื่อยืนยันการใช้ไดร์ฟ C และโฟลเดอร์ AppServ ให้คลิกเลือกทุกรายการ แล้วคลิกปุ่ม Nextจะเข้าสู่จอภาพกำหนดข้อมูลเกี่ยวกับ Web Server โดยให้ระบุช่อง 1 localhost ในรายการ Server Nameช่อง 2 อีเมล์ ในรายการ Administrator's Email Addressช่อง 3 เลข 80 ในรายการ Apache HTTP Port จากนั้นคลิกปุ่ม Nextจะเป็นการระบุรหัสผ่านของฐานข้อมูล ให้ป้อนรหัส1234 โดยป้อน 2 ครั้งให้เหมือนกัน แล้วระบุค่า Character Sets and Collations เป็น UTF-8 Unicode ที่เหลือ 2 ช่อง ไม่ต้องติ๊กอะไรจากนั้นคลิกปุ่ม Installโปรแกรมจะติดตั้ง เมื่อการติดตั้งเสร็จสิ้น หลังจากนั้น คลิกเลือกรายการ Start Apache และ Start MySQL เพื่อเริ่มการทำงาน จากนั้นคลิกปุ่ม Finishเท่านี้ก็เรียบร้อยแล้ว**เพื่อทดสอบการใช้งานให้เรา internet แล้ว พิมพ์ localhost หลังจากนั้นจะขึ้นโปรแกรม appserv ขึ้นมา แสดงว่าใช้งานได้แล้วค่ะ
วิธีการดาวน์โหลด appserv win -32-2.5.9เข้าไปดาวน์โหลดโปรแกรมการติดตั้งที่ http://kitt.kvc.ac.th แล้วไปที่ดาวน์โหลดจากนั้นจะขึ้นโปรแกรหลายโปรแกรม ให้เราเลือก appserv- win-32-2.5.9เมื่อคลิกแล้วจะขึ้น file ดาวน์โหลด เลือกตำแหน่งที่ต้องการวางโปรแกรม หรือวางไว้หน้าdesktop ก็ได้ หลังจากนั้น ให้เราเลือก save โปรแกรมจะทำการดาวน์โหลดเมื่อดาวน์โหลด เสร็จสิ้น เลือก open หลังจากนั้นทำการติดตั้งวิธีการติดตั้ง appserv win -32-2.5.9คลิก file appserv win -32-2.5.9 ขึ้นมา จากนั้นปรากฏจอภาพข้อความต้อนรับเข้าสู่การติดตั้งให้เราเลือก next หลังจากนั้น จะมีจอภาพลิขสิทธิ์ ลิขสิทธิ์การใช้งานของโปรแกรมให้เราเลือก I agree เพื่อยอมรับลิขสิทธิ์ หลังจากนั้น จะขึ้นจอภาพไดร์ฟและโฟลเดอร์ติดตั้งโปรแกรมให้คลิกปุ่ม Next เพื่อยืนยันการใช้ไดร์ฟ C และโฟลเดอร์ AppServ ให้คลิกเลือกทุกรายการ แล้วคลิกปุ่ม Nextจะเข้าสู่จอภาพกำหนดข้อมูลเกี่ยวกับ Web Server โดยให้ระบุช่อง 1 localhost ในรายการ Server Nameช่อง 2 อีเมล์ ในรายการ Administrator's Email Addressช่อง 3 เลข 80 ในรายการ Apache HTTP Port จากนั้นคลิกปุ่ม Nextจะเป็นการระบุรหัสผ่านของฐานข้อมูล ให้ป้อนรหัส1234 โดยป้อน 2 ครั้งให้เหมือนกัน แล้วระบุค่า Character Sets and Collations เป็น UTF-8 Unicode ที่เหลือ 2 ช่อง ไม่ต้องติ๊กอะไรจากนั้นคลิกปุ่ม Installโปรแกรมจะติดตั้ง เมื่อการติดตั้งเสร็จสิ้น หลังจากนั้น คลิกเลือกรายการ Start Apache และ Start MySQL เพื่อเริ่มการทำงาน จากนั้นคลิกปุ่ม Finishเท่านี้ก็เรียบร้อยแล้ว**เพื่อทดสอบการใช้งานให้เรา internet แล้ว พิมพ์ localhost หลังจากนั้นจะขึ้นโปรแกรม appserv ขึ้นมา แสดงว่าใช้งานได้แล้วค่ะ
วันจันทร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2552
1.Database ดาต้าเบส ฐานข้อมูล หมายถึง คือระบบที่รวบรวมข้อมูลไว้ในที่เดียวกัน ซึ่งประกอบไปด้วยแฟ้มข้อมูล (File) ระเบียน (Record) และ เขตข้อมูล (Field) และถูกจัดการด้วยระบบเดียวกัน โปรแกรมคอมพิวเตอร์จะเข้าไปดึงข้อมูลที่ต้องการได้ อย่างรวดเร็ว
2.DBMS (data base management system) ดาต้าเบส เมนนิสเม้นซิตเต้ม หมายถึง ระบบการบริหารฐานข้อมูล
3.Database Administrators : DBAs ดาต้าเบส แอสมินิสทราโทร หมายถึง ผู้ดูเลระบบฐานข้อมูล4.Database Development ดาต้าเบส ดีวีลอปเมท หมายถึง การพัฒนาฐานข้อมูล โปรแกรมสำเร็จรูปจัดการฐานข้อมูล
5.Data Definition Language : DDL ดาต้าดีฟินนิชัน เลงกริช หมายถึง ภาษาที่ใช้ในการนิยามข้อมูล
6.Data Interrogation ดาต้า อินเตอร์โรกาชัน หมายถึง การสืบค้นฐานข้อมูล
7.Graphical and Natural Queries กราฟิกเชียล แอน เนทรูเชีล คิวเชิไรท หมายถึง คำถามภาพและธรรมชาติ
8.Application Development แอพพิเคชัน ดีเวริเมน หมายถึง การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
9.Data Manipulation Language : DML ดาต้าเมนิพูลูชันแลงกริช หมายถึง การเปลี่ยนแปลข้อมูลในฐานข้อมูล
10.Subject Area Database : SADB ชับเจกแอเรียดาตาเบส คือ ฐานข้อมูลซับเจ็กแอเรีย
11.Analytical Database อะนอลริติคอล ดาต้าเบส หมายถึง ฐานข้อมูลเชิงวิเคราะห์12.Multidimensional Database มิลทิดิเมนทชินิล ดาต้าเบส ฐานข้อมูลเชิงจัดการ
13.Data Warehouses ดาต้า เฮาส์ หมายถึง คลังข้อมูล ต่างๆ ขององค์กร
14.Distributed Databases ดิสไทบูเทส ดาต้าเบส ฐานข้อมูลแบบกระจาย
15.End User Databases เอ็นยูเชอ ดาต้าเบส หมายถึง ฐานข้อมูลผู้ใช้ ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลต่างๆ ที่พัฒนาโดยผู้ใช้ที่สถานีปลายทาง
16.Field ฟิวส์ หมายถึง หน่วยข้อมูลที่ประกอบมาจากอักขระต่าง ๆ หลายอักขระ เช่น ชื่อ ที่อยู่ ที่ประกอบด้วยอักขระหลาย ๆ ตัว
17.Record เรคอร์ด หมายถึง การนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มาร่วมกัน
18.Table เทเบิลหมายถึง ตาราง เช่น ตารางลูกค้า จะประกอบด้วยเรอร์ดของลูกค้าที่เป็นลูกค้าแต่ละราย
19.Entity เอนทิตี้ หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เป็นคำที่อ้างอิงถึง บุคคล สถานที่ และสิ่งของต่าง ๆ เช่น สินค้า ใบสั่งซื้อ และลูกค้า
20.InfraStucture Management อินฟรา สตักเตอร์ เมนิเม้น หมายถึง การจัดการโครงสร้างพื้นฐานของเครือข่าย
2.DBMS (data base management system) ดาต้าเบส เมนนิสเม้นซิตเต้ม หมายถึง ระบบการบริหารฐานข้อมูล
3.Database Administrators : DBAs ดาต้าเบส แอสมินิสทราโทร หมายถึง ผู้ดูเลระบบฐานข้อมูล4.Database Development ดาต้าเบส ดีวีลอปเมท หมายถึง การพัฒนาฐานข้อมูล โปรแกรมสำเร็จรูปจัดการฐานข้อมูล
5.Data Definition Language : DDL ดาต้าดีฟินนิชัน เลงกริช หมายถึง ภาษาที่ใช้ในการนิยามข้อมูล
6.Data Interrogation ดาต้า อินเตอร์โรกาชัน หมายถึง การสืบค้นฐานข้อมูล
7.Graphical and Natural Queries กราฟิกเชียล แอน เนทรูเชีล คิวเชิไรท หมายถึง คำถามภาพและธรรมชาติ
8.Application Development แอพพิเคชัน ดีเวริเมน หมายถึง การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
9.Data Manipulation Language : DML ดาต้าเมนิพูลูชันแลงกริช หมายถึง การเปลี่ยนแปลข้อมูลในฐานข้อมูล
10.Subject Area Database : SADB ชับเจกแอเรียดาตาเบส คือ ฐานข้อมูลซับเจ็กแอเรีย
11.Analytical Database อะนอลริติคอล ดาต้าเบส หมายถึง ฐานข้อมูลเชิงวิเคราะห์12.Multidimensional Database มิลทิดิเมนทชินิล ดาต้าเบส ฐานข้อมูลเชิงจัดการ
13.Data Warehouses ดาต้า เฮาส์ หมายถึง คลังข้อมูล ต่างๆ ขององค์กร
14.Distributed Databases ดิสไทบูเทส ดาต้าเบส ฐานข้อมูลแบบกระจาย
15.End User Databases เอ็นยูเชอ ดาต้าเบส หมายถึง ฐานข้อมูลผู้ใช้ ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลต่างๆ ที่พัฒนาโดยผู้ใช้ที่สถานีปลายทาง
16.Field ฟิวส์ หมายถึง หน่วยข้อมูลที่ประกอบมาจากอักขระต่าง ๆ หลายอักขระ เช่น ชื่อ ที่อยู่ ที่ประกอบด้วยอักขระหลาย ๆ ตัว
17.Record เรคอร์ด หมายถึง การนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มาร่วมกัน
18.Table เทเบิลหมายถึง ตาราง เช่น ตารางลูกค้า จะประกอบด้วยเรอร์ดของลูกค้าที่เป็นลูกค้าแต่ละราย
19.Entity เอนทิตี้ หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เป็นคำที่อ้างอิงถึง บุคคล สถานที่ และสิ่งของต่าง ๆ เช่น สินค้า ใบสั่งซื้อ และลูกค้า
20.InfraStucture Management อินฟรา สตักเตอร์ เมนิเม้น หมายถึง การจัดการโครงสร้างพื้นฐานของเครือข่าย
วันอังคารที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2552
1.Introduction อินทรูดักชั่น แนะนำ
2.Component คอมโพเน้น ส่วนประกอบ
3.Operation โอเปอร์เรทติ้ง ปฏิบัติการ
4.Without วิทเฮาร์ ภายนอก
5.Full ฟูร์ เต็ม
6.Metal เม้นทรอ โลหะ
7.Converts คอนเวอร์ แปลง
8.Current เคิลเรนท์ ปัจจุบัน
9.Direct ไดร์เรท โดยตรง
10.Needed นีดดึ ที่จำเป็น
11.Referred รีเฟอร์เรด อ้าง
12.Prosonal เพอร์ชั่นเนว ส่วนตัว
13.Usually ยูเทอริ ปกติ
14.Found ฟราว พบ
15.Corner คอลเนอร์ มุม
16.Visible วิสิเบอร์ มองเห็น
17.Many เมร์นิ มากมาย
18.Systems สิเตรม ระบบ
19.Because บีคอล เพราะว่า
20.Contains คอลเทน ประกอบด้วย
21.Typically ทายปิคอลริ โดยปกติ
22.Motors มอเตอร์ มอเตอร์
23.Specification สเปชิฟิเคทชั่น ข้อกำหนด
24.Probebly โปรเบดริ อาจ
25.Product โปรดัก ผลิตภัณฑ์
26.Around อะราว ใกล้
27.Remember รีเม้มเบอร์ จำ คิด
28.Orignal ออริจึนอร์ ต้นฉบับ
29.Toggle ทรอกเกอร์ สลับ
30.Button บัสทอน ปุ่ม
31.Machine แม็คชิน เครื่องจักร
32.Large หราก ขนาดใหญ่
33.Devices ดีวิส อุปกรณ์
34.Wirs แว สาย
35.Learn เลิน เรียนรู้
36.Track เทค ติดตาม
37.Carry เคิลรี่ เสียบ
38.Features เฟชทั่ว คุณลักษณะ
39.Work เวิก ทำงาน
40.Truly โทรี่ จริงๆ
41.Compared คอมเพลส เปรียบเทียบ
42.Process โปรเสส กระบวนการ
43.Host โฮส เจ้าของ
44.Following โพโลวติ้ง ต่อไปนี้
45.Auto ออโต้ อัตโนมัติ
46.Including อินโควดิ้ง รวมถึง
47.Slot สรอท ช่อง
48.Simple ซิมเบอร์ ง่ายๆ
49.Intallation อินเทวริทชั่น ติดตั้ง
50.Connector คอลเนตโต้ การเชื่อมต่อ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)